บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2023

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 1 ก.พ.2566

รูปภาพ
“ขออภัยในความไม่สะดวก”  31 ม.ค.-2 ก.พ.2566 อุทยานฯ เขาใหญ่ร่วมกับสถานีควบคุมไฟป่าเขาใหญ่ ดำเนินการชิงเผา บริเวณทุ่งหญ้าหนองผักชี ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 1 ก.พ.2566

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 1 ก.พ.2566

รูปภาพ
ไปเที่ยวกัน! ซื้อบัตรเข้าอุทยานแห่งชาติ บนแอป Queq ได้แล้ววันนี้ พาคุณท่องเที่ยวไปกับ 6 อุทยานแห่งชาติยอดฮิต ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 1 ก.พ.2566 ข้อมูล : สำนักอุทยานแห่งชาติ อส.

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 31 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 31 ม.ค.2566 โดย ส่วนประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ อส.

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 30 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 30 ม.ค.2566

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 31 ม.ค.2566

รูปภาพ
หยุดล่า "ค่าง" เพื่อเป็นอาหาร=หยุดสูญเสีย=หยุดโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน  ยิ่งเราบริโภคสัตว์ป่ามากเท่าไหร่...เราก็สูญเสียสัตว์ป่าจำนวนมากไปเช่นกัน               จากกรณีเจ้าหน้าที่ลาดตระเวนของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งเข้าจับกุมผู้กระทำผิด พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 โดยการลักลอบเข้าไปล่าสัตว์ป่าพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในที่เกิดเหตุพบค่างถูกนำไปแปรรูปเป็น “ส้มค่าง” น้ำหนักรวมประมาณ 60 กิโลกรัม คาดว่าจะใช้ค่างมาทำไม่น้อยกว่า 15 ตัว                ในประเทศไทยมีรายงานว่าพบค่างถึง 9 ชนิด ปัจจุบันในทางกฎหมายมีค่าง 4 ชนิดที่มีสถานะ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 (ฉ.2 พ.ศ.2546) ได้แก่ ค่างดํา ค่างแว่นถิ่นใต้ ค่างแว่นถิ่นเหนือ และค่างหงอก และเป็นสัตว์ป่าที่อยู่ในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ อยู่ในชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 2 และรอประกาศค่างตะนาวศรีเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 เพิ่มอีก 1 ชนิด ส่วนอีก 4 ชนิด อยู่ระหว่างประกาศเพิ่มเติม          

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 29 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 29 ม.ค.2566

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 30 ม.ค.2566

รูปภาพ
ผู้เชี่ยวชาญศูนย์อาเซียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ลงพื้นที่ศึกษาระบบนิเวศบนยอดภูกระดึง เพื่อประเมินอุทยานแห่งชาติภูกระดึงเป็น อุทยานมรดกโลกอาเซียน ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 30 ม.ค.2566

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 28 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 28 ม.ค.2566

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 29 ม.ค.2566

รูปภาพ
เสือจากัวร์ กับ เสือดาว ต่างกันอย่างไร? วิถีชีวิตเหมือนกันหรือไม่? วันนี้พาไปรู้จักกับเสือทั้งสองชนิดนี้ให้มากขึ้น                 เสือจากัวร์ (Jaguars) และ เสือดาว (Leopards) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ วงศ์เสือและแมว (Felidae)                  เสือจากัวร์กับเสือดาวอาศัยอยู่ต่างทวีป จึงไม่มีโอกาสสับสนเมื่อพบเห็นในธรรมชาติ แต่ในสวนสัตว์ที่มีเสือทั้งสองชนิดอยู่ด้วยกันอาจทำให้ผู้พบเห็นสับสนในการจำแนกชนิด เนื่องจากมีลักษณะรูปร่างที่คล้ายคลึงกันมาก                 เมื่อเทียบความแตกต่างระหว่างเสือทั้งสองชนิดนี้พบว่า                    1.ถิ่นอาศัย                     จาร์กัวร์พบได้เกือบทั่วอเมริกาใต้และอเมริกากลาง รวมไปถึงตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา ส่วนเสือดาวพบในแอฟริกา เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก เรื่อยมาถึงทางภาคใต้ของไทย มาเลเซีย และหมู่เกาะชวา                 2.ลักษณะรูปร่าง                   เสือจากัวร์มีรูปร่างล่ำสันกว่า หัวกว้างและหน้าสั้นกว่า ขาสั้นและใหญ่กว่า หางใหญ่กว่า เมื่อเทียบกับเสือดาว                 3.ลักษณะลายดอกบนลำตัว                   เสือจากัวร์นั้นมีข

ข่าวส่วนภูมิภาค สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 สาขาเพชรบุรี - 29 ม.ค.2566

รูปภาพ
กรมอุทยานฯ ชวนประกวดภาพถ่ายชิงรางวัล "25 ปี มนต์เสน่ห์เขานางพันธุรัต" สถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่มีตำนานมาช้านาน ข่าวส่วนภูมิภาค สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 สาขาเพชรบุรี - 29 ม.ค.2566

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 28 ม.ค.2566

รูปภาพ
กรมอุทยานแห่งชาติฯ ร่วมลงนาม MOU บูรณาการระบบอำนวยความสะดวกผู้เดินทาง (Ease of Traveling) ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 28 ม.ค.2566 ข้อมูล : ส่วนประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ อส.

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 28 ม.ค.2566

รูปภาพ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ร่วมรับมอบนโยบายหัวหน้าหน่วยงาน 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 28 ม.ค.2566 ข้อมูล : ส่วนประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ อส.

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 27 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 27 ม.ค.2566 โดย ส่วนประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ อส.

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 28 ม.ค.2566

รูปภาพ
กรมอุทยานแห่งชาติฯ เปิด มาตรการรองรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในอุทยานแห่งชาติ และวนอุทยาน                     สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติของไทย ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวจำนวนมาก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงกำหนดมาตรการและแนวทางรองรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติไว้ เพื่อส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ปลอดภัยสำหรับทุกคน ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 28 ม.ค.2566 ข้อมูล: สำนักอุทยานแห่งชาติ อส.

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 28 ม.ค.2566

รูปภาพ
“นกเอี้ยง (ไม่ได้)เลี้ยงควายเฒ่า”  ด้วยว่าคนไทยชินตากับภาพที่ไม่ว่าควายจะเดินไปทางไหน ก็มักจะมีนกเอี้ยงเกาะอยู่บนหลังควายตลอดเวลา                       นกเอี้ยงเลี้ยงควายเฒ่า เป็นคำกล่าวในลักษณะภาษิต ซึ่งมักจะหมายถึงการเกาะเกี่ยวเก็บผลประโยชน์บนการทำงานของผู้อื่น ด้วยว่าคนไทยชินตากับภาพที่ไม่ว่าควายจะเดินไปทางไหน ก็มักจะมีนกเอี้ยงเกาะอยู่บนหลังควายตลอดเวลา และเมื่อควายเดินผ่านพงหญ้าฝูงแมลงตัวเล็กตัวน้อยก็จะบินแตกพรูขึ้นมาเกาะบนตัวควาย นกเอี้ยงที่เกาะอยู่บนหลังควายก็จะคอยจิกกินแมลงโดยไม่ต้องออกแรงบินไปหาเหยื่อจากที่อื่น                       แต่ในความเป็นจริงการที่นกเอี้ยงเกาะอยู่บนหลังควายนั้น ถือว่าเป็นหุ้นส่วนที่ผลประโยชน์สมกันอย่างลงตัว เพราะนกเอี้ยงจะคอยช่วยจิกกินตัวแมลงเล็กๆ ที่คอยบินมาตอมตามลูกนัยน์ตาของควาย อันเป็นสาเหตุที่ทำให้ควายเป็นโรคตาแดงตาช้ำ แถมการจิกกินแมลงที่เกาะตามผิวหนังของควาย ยังช่วยให้ควายมีผิวหนังดำขลับสวยงาม ไร้รอยตำหนิแผลเป็นจากการชอนไชของแมลง และเป็นการช่วยเกาแก้คันให้ควายไปในตัวด้วย                      ซึ่งเราจะเรียกความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศระหว่

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 28 ม.ค.2566

รูปภาพ
ค้นพบ! บึ้งปล้องไผ่พระเจ้าตากสิน บึ้งชนิดใหม่ของโลกที่ถูกค้นพบโดยคนไทยเป็นครั้งแรกในรอบ 104 ปีของเอเชีย                 สำหรับบึ้งพันธุ์ใหม่ชนิดนี้มีชื่อว่า Taksinus bambus หรือ "บึ้งปล้องไผ่พระเจ้าตากสิน" ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกที่จังหวัดตาก โดยได้ทำการตั้งสกุลนี้ เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจัยชื่อดังทางด้านสัตววิทยา Zookeys เมื่อวันที่ 4 ม.ค.2565                อีกทั้งได้รับการจัดอันดับอยู่ใน TOP 15 ของการค้นพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ ในปี 2022 ซึ่งจัดโดย Mongabay สื่อนานาชาติชื่อดัง ด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์ธรรมชาติที่ไม่แสวงหากำไร                 ซึ่งคณะผู้วิจัยนำโดยดร.นรินทร์ ชมภูพวง อาจารย์ประจำสาขาวิชากีฏวิทยาและโรคพืชวิทยา คณะเกษตรศาสตร์ หัวหน้าคณะวิจัยนายชวลิต ส่งแสงโชติ นักแมงมุมวิทยาจากคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และนายทรงธรรม สิปปวัฒน์ หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ “โจโฉ” ยูทูบเบอร์ชื่อดัง ซึ่งเป็นผู้ค้นพบบึ้งดังกล่าว และ นายวุฒิไกร ใข่แก้ว นักวิชาการอิสระ  ***#บึ้งปล้องไผ่พระเจ้าตากสิน ดำรงชีวิตอยู่เฉพาะต้น

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 26 ม.ค.2566

รูปภาพ
ภาพ : ฝ่ายศิลปกรรม ส่วนประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ อส. สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 26 ม.ค.2566

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 25 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 25 ม.ค.2566

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 24 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 24 ม.ค.2566

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 23 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 23 ม.ค.2566

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 22 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 22 ม.ค.2566

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 23 ม.ค.2566

รูปภาพ
ดอกไม้บานเดือนนี้ “ก่วมแดง” หรือเมเปิ้ล มีรูปร่างคล้ายรอยตีนของไดโนเสาร์ เปลี่ยนสีเป็นสีแดงทั่วทั้งป่า พบมากที่อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ดอกไม้บานเดือนนี้ “ก่วมแดง” 𝘈𝘤𝘦𝘳 𝘤𝘢𝘭𝘤𝘢𝘳𝘢𝘵𝘶𝘮 Gagnep. วงศ์ : Sapindaceae                  ปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนมกราคม ถ้าขึ้นไปอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า (บริเวณโรงเรียนการเมืองการทหารหรือทางเข้าน้ำตกหมันแดง) หรือขึ้นไปที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง (บริเวณโคกนกกระบา) จะพบใบของก่วมแดงหรือเมเปิ้ล ที่มีรูปร่างคล้ายรอยตีนของไดโนเสาร์ เปลี่ยนสีเป็นสีแดงทั่วทั้งป่า จากนั้นไม่นานก็จะผลัดใบ แล้วผลิใบอ่อนพร้อมแทงช่อดอก                  ก่วมแดง ชอบขึ้นตามป่าดิบเขาต่ำ ป่าละเมาะเขาต่ำ ที่ระดับความสูง 1,150–1,700 ม. พบทางภาคเหนือ ที่จังหวัดเชียงใหม่ น่าน พิษณุโลก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดเลย ในต่างประเทศพบที่อัสสัม เทือกเขาหิมาลัย จีนตอนใต้ เมียนมา ลาว เวียดนาม จัดเป็นพรรณไม้ที่ใกล้สูญพันธุ์ (Endangered species: EN) ตามเกณฑ์ของ IUCN                  ก่วมแดง เดิมอยู่วงศ์ก่วม (Aceraceae) ต่อมาถูกย้ายไปอยู่วงศ์เงาะ (Sapindaceae) เป็น

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 20 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 20 ม.ค.2566

สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 20 ม.ค.2566

รูปภาพ
สรุปรายงานข่าวกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่สำคัญประจำวันที่ 20 ม.ค.2566

ข่าวประชาสัมพันธ์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 21 ม.ค.2566

รูปภาพ
"เทียนไตรบุญ"  เป็นพรรณไม้ถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ที่จังหวัดกาญจนบุรี ขึ้นในป่าเบญจพรรณ บนเขาหินปูน เทียนไตรบุญ 𝘐𝘮𝘱𝘢𝘵𝘪𝘦𝘯𝘴 𝘵𝘳𝘪𝘣𝘰𝘶𝘯𝘪𝘪 T.Shimizu & Suksathan วงศ์ Balsaminaceae                 เทียนไตรบุญ ได้รับการตีพิมพ์เป็นพรรณไม้ชนิดใหม่ของโลก ลงในวารสาร Bulletin of the National Science Museum, Tokyo Series B, Botany เล่มที่ 30(4) หน้า 165 ค.ศ. 2004 โดย ดร. Tatemi Shimizu นักพฤกษศาสตร์ชาวญี่ปุ่น และ ดร.ปิยเกษตร สุขสถาน นักพฤกษศาสตร์ประจำสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ ตัวอย่างพรรณไม้ต้นแบบหมายเลข Impatiens tribounii เก็บจากป่าในท้องที่อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2544 คำระบุชนิด “𝘵𝘳𝘪𝘣𝘰𝘶𝘯𝘪𝘪” ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ ดร.ปราโมทย์ ไตรบุญ อดีตนักพฤกษศาสตร์ประจำพิพิธภัณฑ์พืชกรุงเทพ (BK) ผู้ร่วมสำรวจและศึกษาพรรณไม้วงศ์เทียน                  ไม้ล้มลุก สูง 30-80 ซม. ลำต้นตั้งตรง ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่ถึงรูปรูปไข่แกมรูปรี กว้างได้ถึง 10.2 ซม. ยาวได้ถึง 20 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่ม

ข่าวผู้บริหารกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 20 ม.ค.2566

รูปภาพ
นางรุ่งนภา พัฒนวิบูลย์ รองอธิบดีฯ รักษาราชการแทนอธิบดีฯ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาการใช้จ่ายเงินรายได้ เพื่อบำรุงรักษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ครั้งที่ 1/2566             กรมอุทยานแห่งชาติฯ ประชุมคณะกรรมการพิจารณาการใช้จ่ายเงินรายได้ เพื่อบำรุงรักษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ครั้งที่ 1/2566             วันที่ 20 มกราคม 2566 นางรุ่งนภา พัฒนวิบูลย์ รองอธิบดี รักษาราชการแทนอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาการใช้จ่ายเงินรายได้ เพื่อบำรุงรักษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ครั้งที่ 1/2566 โดยมี นายเผด็จ ลายทอง ผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า เข้าร่วมพร้อมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ณ ห้องประชุม 401 ชั้น 4 อาคารศูนย์ปฏิบัติการ กรมอุทยานแห่งชาติฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมได้พิจารณาแผนงาน/โครงการที่ขออนุมัติใช้เงินรายได้เพื่อบำรุงรักษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ประเภทร้อยละ 80 ข่าวผู้บริหารกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - 20 ม.ค.2566 ข้อมูล : ส่วนประชาสัมพันธ์แ